เส้นโค้งฮิสเตอร์เรซิสของแม่เหล็ก (Magnetic hysteresis curve)
1.ความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กคงคาง (Br)
ขณะที่ทำให้แม่เหล็กมีสภาวะเป็นแม่เหล็ก ให้ค่อยๆ เพิ่มกระแสไฟของคอยล์ที่ทำให้มีคุณสมบัติของแม่เหล็กขึ้น สนามแม่เหล็กจะหนาแน่นขึ้นและทำแม่เหล็กให้มีสภาวะเป็นแม่เหล็กไปพร้อมกับความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กในแม่เหล็กจนอิ่มตัวที่จุดหนึ่ง จากนั้น ให้ลดกระแสไฟจากสภาพอิ่มตัว ลดความหนาแน่นของสนามแม่เหล็กลง ความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กจะไม่ย้อนกลับจาก a ไปยัง 0 แต่จะลดลงจาก a ไปเป็น b ซึ่งแม้ว่าความหนาแน่นของสนามแมเหล็กจะเป็น 0 ก็ตาม ความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กจะเหลือแค่ค่า b ซึ่งเราเรียกค่าดังกล่าวนี้ว่าความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กคงคาง (Br)
2.สภาพบังคับ (Coercivity) หรือแรงบังคับ (Coercive Force) (Hc)
3. ความแตกต่างของคุณสมบัติเฉพาะของเส้นโค้งฮิสเตอร์เรซิสแม่เหล็กชั่วคราว (Soft Ferrite) และแม่เหล็กถาวร (Hard Ferrite)
4. พื้นที่ที่เรียกว่า Maximum Energy product (BHmax)
ค่าคุณสมบัติเฉพาะ 4 อย่างของแม่เหล็ก --- ความหนาแนนของฟลักซแมเหล็กคงคาง Br, สภาพบังคับ Hc, พื้นที่ที่เรียกว่า Maximum Energy product (BH)max อัตรารรีคอยล์ μr --- จะเป็นหนึ่งในนั้น สเกล คือ ความแรงของแม่เหล็ก หมายถึงค่าสูงสุดของพื้นที่ระหว่างความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็ก (Br) กับค่าความหนาแน่นของสนามแม่เหล็ก (H) ที่จุดหนึ่งของวงรอบพื้นที่ฮิสเตอร์เรซิสในควอดแรนต์ที่ 2 (Demagnetization curve) ความหนาแนนของฟลักซแมเหล็กคงคางและสภาพบังคับ (Coercivity) ไม่เพียงแต่จะมีค่ามากเท่านั้น แต่วงรอบฮิสเตอร์เรซิสจะมีรูปร่างเป็นเหลี่ยมมากขึ้น พื้นที่เรียกว่า Maximum Energy product จะมากขึ้นจนเป็นแม่เหล็กที่มีความแรง